เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เราใช้คุกกี้เพื่อนำเสนอเนื้อหาและโฆษณา คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม‘นโยบายคุกกี้’ และ ‘นโยบายความเป็นส่วนตัว’
ข่าวล่าสุดของหมวด
ฆ่าโหดหนุ่มวัย 35 มัดมือ-มัดเท้า โยนทิ้งแม่น้ำโขง สายลึกลับโทรเรียกค่าไถ่ 1 ล้าน
สุดดราม่า "แม็ก เดอะสตาร์" คุกเข่าขอขมา "เอ็มมี่ อมลวรรณ" หลังถูกฟ้องหมิ่นประมาท
แม่เชื่อ "แตงโม" ถูกฆาตกรรม เผยไม่คุยกัน 3 เดือน ก่อน "กระติก" ชวนล่องเรือ
วัยรุ่นหนีตายคู่อริไล่แทง ขอให้ตำรวจช่วย กลับถูกจับใส่กุญแจมือ กระทืบ เหยียบหัว
รปภ.หื่น ทำทีมาซื้อของ ก่อนฉุดสาวร้านสะดวกซื้อข่มขืนคาห้องน้ำ อ้างเคยจีบแต่ไม่ติด
ผู้โดยสารแตกตื่น สาวถูกแทงบนรถไฟ มีดปักคาคอ ฝีมือแฟนหนุ่มที่มาด้วยกัน
ชุมชนคลองเตยเซอร์ไพรส์วันเกิด 56 ปี "ชัชชาติ" เผยล้านคะแนนเสียงคือของขวัญ
ชัชชาติ ประเดิมงานแรก! แท็กทีม วิโรจน์ ลงเรือสำรวจคลองลาดพร้าว แก้น้ำท่วม
ปารีณา จวกชัชชาติ "ปากดี" ท้าแข่งกับประยุทธ์เป็นนายกฯ
นายกฯ แสดงความยินดี "ชัชชาติ" ชนะเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ย้ำพร้อมร่วมงานกับทุกคน
"ศิธา-สุดารัตน์" ยินดี "ชัชชาติ" ชนะเลือกตั้งแบบแลนด์สไลด์ ลั่นไม่ท้อลุยการเมืองใหญ่ต่อ
“ชัชชาติ” ว่าที่ผู้ว่าฯ กทม. วิ่งสวนลุมแต่เช้า เผยที่นี่เป็นจุดเริ่มต้นแรงบันดาลใจเปลี่ยนเมือง
"นิวนิว เอวเด้ง" บอกเหงามากเลย ประกาศโสดเชิญจีบ
"มิว นิษฐา" โพสต์ภาพ "น้องมาริน" ช็อตนี้! ชาวเน็ตหลุดโฟกัส คุณย่าคุณยาย หน้าเหมือนกันสุดๆ
"กระติก" ตอบทุกประเด็นเดือด-ใครโพสต์เฟซบุ๊ก "แตงโม"-เผยวันนี้ฟ้องใครบ้าง?
คลิป "อั้ม พัชราภา" เห็นคาตา "ไฮโซพก" ควงสาวกินข้าว ถามตรงๆ มีแฟนใหม่แล้วเหรอ?
"นานา" โพสต์ระบาย ลูกๆ ถูกคอมเมนต์รุนแรง วอนอย่าใจร้ายกันถึงขนาดนี้เลย
เปิดภาพหีบศพ “แตงโม นิดา” สื่อถึง "ความรัก-ความหวัง-ความเชื่อ"
เปิดประวัติ "แอนโธนี อัลบานีส" ว่าที่นายกฯ ออสเตรเลีย คนที่ 31 กับชีวิตสุดดราม่า
เบลเยียม ออกมาตรการเข้มชาติแรก ผู้ติดเชื้อฝีดาษลิง ต้องกักตัว 21 วัน
พ่อหนุ่มคลั่งรัก สักชื่อแฟนสาวที่เพิ่งคบได้ 6 วัน พร้อมประโยคบอกรักเต็มหลัง
เมียใจสลาย ผัวทิ้งหนีไปกับผู้ลี้ภัยยูเครนสาวสวย หลังให้ที่พักพิงแค่ 10 วัน
ผัวฟ้องหย่าเมียเพราะยอมมีเซ็กซ์น้อยไป เมียโต้ ให้เท่าไหร่ก็ไม่พอ มีประจำเดือนก็ไม่หยุด
ยูทูบเบอร์สาวโพสต์ "คลิปสุดท้ายในชีวิต" หลังสู้มะเร็งร้าย บอกเหลือเวลาไม่กี่วันแล้ว
สาวกลับไทยในรอบ 2 ปี เจอศุลกากรรื้อกระเป๋าเช็กของแบรนด์เนม เก็บภาษีครึ่งแสน
เผยผลตรวจน้ำจากถังอาศรม "พระบิดา" พบเชื้อแบคทีเรีย ดัชนีบ่งชี้การปนเปื้อนอุจจาระ
LIVE REAL เล่าเรื่องจริงจากสายตา “สื่อภาคประชาชน”
ผู้ประกอบการภาคใต้เรียกร้องภาครัฐแก้ไขปัญหา “บุหรี่เถื่อน” อย่างจริงจัง
สภาพ.. รีวิวข้าวกล่องตำรวจคุมหน่วยเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ทำทั้งวันมีให้แค่กล่องเดียว
เลขเด็ด ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ว่าที่ผู้ว่าฯ กทม. ส่องลุ้นโชคงวดนี้ 1/6/65
หนุ่มช้ำรัก เสียท่าสาวลูกติด แต่งคืนเดียวหอบสินสอดพร้อมเงินใส่ซองหนี
สาวแทบอ้วก ซื้อช็อกโกแลตร้อนจากร้านดัง ดื่มหมดแก้วเพิ่งเห็นว่ามีแมลงสาบเพียบ!
ชาวบ้านสุดงง เทศบาลพร่องน้ำคูเมืองทำแก้มลิง แต่มาทำหลังจากฝนหยุด-น้ำลดแล้ว
ตาวัย 88 บ้านถูกปิดทางเข้า-ออก ดีใจคลานลอดพุ่มไม้ตรวจ ATK ครั้งแรกในชีวิต
อาถรรพ์น้ำวนบางปะกงคร่า 2 ชีวิต ตะลึง กำลังลากศพลูกชาย ร่างพ่อลอยขึ้นมาขวางเรือ
ไม่ใช่คอนเทนต์ เจ้าของร้านปิ้งย่างสุดหรู แจงเหตุสุดวิสัย ต้องยืมเก้าอี้วัดมาใช้ก่อน
หน้า: 1
แบ่งปันกระทู้นี้ให้เพื่อนคุณอ่านไหมคะ?
เพราะปัญหาโลกร้อน สาเหตุใหญ่ของภาวะโลกร้อนมาจากการปล่อยก๊าซก่อเรือนกระจกในภาคพลังงาน ดังนั้นจึงมีตั้งหลายวิธีที่คุณจะช่วยลดอุณหภูมิให้กับโลกได้ด้วยการประหยัดพลังงาน ไม่ว่าจะฮิตอินเทรนด์กับกระเป๋าแบกกระเป๋าผ้าต้าน "โลกร้อน" หันมาใช้บริการขนส่งมวลชน หรือตั้งเครื่องปรับอากาศไว้ที่ 23-25 องศา ถือว่าเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าทางที่ดีถ้าไม่จำเป็นในต่อการใช้เครื่องปรับอากาศในชีวิตประจำวันก็ไม่ควรที่จะเปิดก็ได้ หรือ เปิดเมื่อจำเป็น และปิดใช้ ก่อนไม่อยู่ในห้องนั้นแล้วประมาณ 5-10 นาที ก็ช่วยได้ เช่นกัน ทั้งนี้นักวิชาการจากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ร่วมกันแปลหนังสือที่มีชื่อเป็นภาษาไทยว่า "ทางเลือกพลังงานเพื่อดับโลกร้อน" (Energy Future's Beyond Carbon) ของนิตยสารไซแอนทิฟิก อเมริกัน (Scientific American) ว่ากว่า 60% ของก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกมาจากการเผาพลาญเชื้อเพลิงในภาคพลังงาน และหากพิจารณาเฉพาะเจาะจงที่ประเทศไทยก็มีตัวเลขที่ไม่แตกต่างกันมากนักนั่นคือ 56% ดังนั้นสารพัดกลวิธีเพื่อประหยัดหลังงานจึงได้รับการชูให้เป็นหนทางกู้วิกฤตภาวะโลกร้อน (Global Warming) อันนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Change)รศ.ดร.บัณฑิต ฟุ้งธรรมสาร ผอ.JGSEE ให้ข้อมูลว่ามีการใช้โรงไฟฟ้าถ่านหินเพื่อเป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้ามานานแล้ว โดยเมืองไทยใช้อยู่ในสัดส่วน 20% ของการผลิตไฟฟ้าทั้งหมดแต่ส่วนใหญ่คือก๊าซธรรมชาติ 60% ซึ่งข้อดีของเชื้อเพลิงชนิดนี้คือมีปริมาณสำรองเยอะและราคาถูก แต่ข้อเสียคือทำให้เกิดมลพิษทางอากาศโดยชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง และยังปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยปล่อยมากกว่าก๊าซธรรมชาติถึง 2 เท่า"ทุกหน่วยการใช้พลังงานปล่อยคาร์บอนสู่ชั้นบรรยากาศ 1 กิโลกรัม แล้วเราจะไม่ใช้ได้ไหม? ถ่านหินยังมีข้อดีอยู่คือมีสำรองไว้ใช้ 100-200 ปี ขณะที่ก๊าซธรรมชาติในบ้านเราสำรองได้แค่ 20 ปี ส่วนน้ำมันก็เหลือใช้อีก 40 ปีก็จะหมด ที่เหลือก็อยู่ในแหล่งที่นำขึ้นมายาก แต่จะทำอย่างไรกับข้อเสียของถ่านหินซึ่งมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์"ผู้อำนวยการ JGSEE กล่าวว่ามีทางออก 2 แนวทางคือ ในระยะใกล้ต้องใช้เทคโนโลยีเผาถ่านหินที่ก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น เพื่อช่วยลดปริมาณการปล่อยคาร์บอน ซึ่งอาจจะลดจาก 1 กิโลกรัมต่อหน่วยไฟฟ้า เหลือ 0.8 กิโลกรัม เป็นต้น ทั้งนี้โรงไฟฟ้าใหม่ๆ ที่จะสร้างขึ้นนั้นต้องใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ปล่อยคาร์บอนน้อยลง"อีกแนวทางคือเก็บหรือดักคาร์บอนไดออกไซด์ ต้องหาทางเอาไปเก็บไว้ใต้ดิน ตามบ่อน้ำมันหรือหลุมก๊าซธรรมชาติที่ใช้แล้ว อัดลงไปในรูปของเหลวอย่างถาวร ถ้าทำได้ก็หมดห่วง แต่ตอนนี้ยังเป็นเทคโนโลยีในขั้นทดลอง ก็ฝากความหวังไว้กับการกักเก็บคาร์บอนไว้ใต้ดิน" รศ.ดร.บัณฑิตกล่าวส่วนเชื้อเพลิงชีวภาพจะเกิดได้ในเมืองไทยหรือไม่ รศ.ดร.บัณฑิตให้ความเห็นว่าแนวทางที่เป็นไปได้คือนำวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรมาหมักเพื่อให้ได้ก๊าซชีวภาพที่นำไปเป็นเชื้อเพลิงได้ แต่ทั้งนี้ในเมืองไทยมีการใช้ก๊าซที่ได้จากการหมักน้ำเสียจากฟาร์มสุกรและโรงงานอุตสาหกรรมอาหารเพื่อผลิตเป็นไฟฟ้าใช้ในระบบของฟาร์มและโรงงานมานานกว่า 20 ปีแล้วขณะที่แนวทางช่วยลดปัญหาโลกร้อนนั้น รศ.ดร.สิรินทรเทพ เต้าประยูร ประธานสายสิ่งแวดล้อม JGSEE กล่าวว่า การช่วยลดก๊าซเรือนกระจกเป็นปัญหาที่ทั่วโลกช่วยได้แต่ต้องรู้ที่มา-ที่ไปของก๊าซเรือนกระจกว่ามาจากไหน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากภาคพลังงาน โดยระดับโลกคิดเป็น 60% ขณะที่ไทยคิดเป็น 56% ดังนั้นการลดใช้พลังงานจึงเห็นผลได้มากที่สุด"การลดทำได้ไม่ยาก ปิดไฟที่ไม่จำเป็น ลดใช้ไฟฟ้าลง 1 หน่วยก็ช่วยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 1 กิโลกรัม การประหยัดไฟเป็นเรื่องใกล้ตัว การใช้ถุงผ้าก็เพื่อลดใช้ถุงพลาสติกซึ่งต้องใช้พลังงานในการผลิต เมื่อใช้ถุงผ้าจึงเป็นเรื่องของการลดใช้พลังงาน" รศ.ดร.สิรินทรเทพกล่าวขณะที่ ศ.ดร.สุรพงษ์ จิระรัตนานนท์ อาจารย์ประจำ JGSEE ซึ่งศึกษาทางด้านการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความเห็นว่าการใช้พลังงานสูงนั้นส่วนหนึ่งมาจากการใช้เครื่องปรับอากาศและการใช้รถยนต์ส่วนตัว ดังนั้นต้องพยายามรณรงค์ให้มีการใช้ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น ลดการใช้เครื่องปรับอากาศซึ่งไม่เพียงแค่ตั้งอุณหภูมิไว้ที่ 25 องศาเซลเซียส จริงๆ แล้วเครื่องปรับอากาศยิ่งตั้งอุณหภูมิก็ยิ่งประหยัดพลังงานไฟฟ้าแต่ทางที่ดีไม่เปิดเลยดีกว่า"บ้านที่มีแอร์จะทราบว่า 70% ของพลังงานที่ใช้ในบ้านคือไฟฟ้าในการเปิดแอร์ ดังนั้นปิดไปเลยดีกว่า แล้วพัฒนาระบบที่มาทดแทนแอร์ ทำให้รู้สึกสบายเหมือนกันแต่ใช้พลังงานนอยกว่า หรือสร้างอาคารที่สามารถใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพคือใช้พลังงานน้อยแต่ให้แสงสว่างและทำให้ผู้อยู่ในอาคารรู้สึกสบายได้ ระบบเก่าที่ใช้กันอยู่นั้นเปลืองพลังงานมาก"ดังความสำคัญของการลดภาวะโลกร้อน สำหรับการเปิดแอร์แล้วเปลี่ยนอุณหภูมิในห้องให้อยู่ ที่23-25 องศา ถือว่าเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าเป็นการเปลี่ยนอุณหภูมิของโลกเพิ่มเพียง1.2 องศาเซลเซียส ถือว่าไม่ใช่เรื่องปกติ นับจากการปฎิวัติยุคอุตสาหกรรมเป็นต้นมา โลกร้อนขึ้นอย่างมา สัตว์ป่า divercity เกิดน้ำแข็งขั้วโลกละลายเร็วขึ้น เกิดคลื่นความร้อน กระทบเศรษฐกิจต่างๆที่ต้องพึ่งพาการเกษตร อุตสหกรรมเหล่านั้นอาจเดินต่อไม่ได้ ตอนนี้ประเทศไทยเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบเยอะที่สุด เพราะเป็นประเทศเกษตรกรรม เกิดภาวะแห้งแล้ง ฝนฟ้าตกไม่ตรงฤดูกาล กระทบต่อการเก็บเกียวผลผลิตของชาวบ้านและเกษตรเป็นอย่างมาก ทางด้าน ศ.ดร.สุรพงษ์กล่าว และยกตัวอย่างว่าที่มาเลเซียมีตึกที่ใช้พลังงานเพียง 25% ของการใช้ทั่วไป แต่ให้แสงสว่างและให้ผู้อยู่รู้สึกสบายได้ เช่นเดียวกับอาคารที่มีระบบเครื่องปรับอากาศทั่วไป พร้อมแนะว่าการใช้พัดลมในห้องแอร์เมื่อตั้งอุณภูมิจะช่วยให้รู้สึกเย็นสบายได้มากขึ้น แต่หากออกแบบบ้านให้มีฉนวนกันความร้อนดีๆ ก็ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศเลย #ภาวะโลกร้อน #ก๊าซเรือนกระจก #กระทรวงทรัพยกรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม #การเปิดเครื่องปรับอากาอาศ ขอบคุณที่มา https://mgronline.com/science/detail/9510000040798https://becommon.co/world/airconditioner-climatechange/
แจ้งเตือน
ภาพและเนื้อหาต่อไปนี้ ไม่เหมาะสมแก่เด็ก และเยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี