หน้า: 1

ชนิดกระทู้ ผู้เขียน กระทู้: BLOG01_307_ภาษาคอมพิวเตอร์  (อ่าน 5096 ครั้ง)
add
เรทกระทู้
« เมื่อ: 28 ก.ค. 10, 07:50 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
Send E-mail

แบ่งปันกระทู้นี้ให้เพื่อนคุณอ่านไหมคะ?

ปิดปิด
 


ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่โปรแกรมเมอร์เขียนเพื่อใช้สั่งงานตามรูปแบบและโครงสร้างของภาษาซึ่งแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้คือ
1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก
ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมอาร์ดาแวร์แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทางานได้เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นต้น
2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก
เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความเข้าใจได้เหมือนกับภาษาระดับสูงแต่ทางานได้รวดเร็วเหมือนกับภาษาระดับต่า สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น
3. ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ การใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการแปลความหมายของคาสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่เรียกว่า Compiler
ภาษาซี (C Programming Language) ถูกพัฒนาขึ้นมาในปี ค.ศ. 1970 โดย Dennis Ritchie แห่ง Bell Laboratories และได้ถูกใช้งานแต่ในห้องปฏิบัติการของ Bell จนกระทั่งปี 1978 นั้น Brian Kerninghan กับ Dennis Ritchie สองคู่หูขาโจ๋ จึงได้ออกหนังสือ กาหนดมาตรฐานของภาษาซี ข้อกาหนดนี้คนมักเรียกขานกันว่า K&R C

หลังจากนั้นปี 1980 ภาษาซี ก็ได้รับความนิยมมากขึ้น มีการพัฒนา comiler ภาษาซีออกมามากมาย ความได้เปรียบของภาษาซี ที่เหนือกว่าภาษาอื่นคือ

1. ภาษาซี สามารถนาไปใช้ได้บนเครื่องทุก Platform ไม่ว่าจะเป็น Intel PC ที่วิ่ง Windows 95 หรือ Windows NT หรือ แม้แต่ Linux ทั้งเครื่อง Macintosh และ เครื่องเวอร์คสเตชัน ตลอดจนเมนเฟรม เนื่องจากมี compiler ของภาษาซี อยู่ทั่วไป
2. ภาษาซี เป็นภาษาที่ง่ายๆ คือมีแต่ข้อกาหนดในการใช้งาน หรือ syntax แต่ไม่มีฟังก์ชันสาเร็จรูป (Built-in Function) ใดๆ ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการทาอะไรก็ตาม ต้อง เขียนทุกอย่างขึ้นเอง หรือ อาจเรียก Library Functions มาใช้งาน โดย ฟังก์ชันที่เป็นงานที่ใช้บ่อยๆ จะถูกรวบรวมไว้ใน Library Functions เช่น การจัดการข้อความ การดาเนินการเกี่ยวกับ Input/Output (I/O) การจองหน่วยความจา (Memory Allocation) แต่ฟังก์ชันที่วิลิศสมาหรา จะไม่มีใน Standard Library เช่น ฟังก์ชันที่จัดการ Graphics ทั้งนี้จะขึ้นกับระบบที่ใช้ (เช่น เป็นระบบ UNIX หรือ Windows 95) และ สิ่งแวดล้อมในการทางาน (เช่น GUI เป็น X-Windows หรือ Direct X) การทาเช่นนี้จะทาให้ภาษาซี เป็นภาษาที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย (portable)

ในการเขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจหลักเกณฑ์ของภาษาโปรแกรม และระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ว่ามีโครงสร้างและวิธีการใช้คาสั่งอย่างไร หลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรม ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนคือ
1.ทำความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา 2.กาหนดแผนในการแก้ปัญหา 3.เขียนโปรแกรมตามแผนที่กาหนด
4.ทดสอบและตรวจสอบความถูกต้อง 5.นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบไปใช้งาน

ท่าความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา
ก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรมนั้น จะต้องทำความเข้าใจและการวิเคราะห์ปัญหาเป็นสิ่งที่สาคัญเพราะผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับนักวิเคราะห์ระบบว่าโจทย์ต้องการผลลัพธ์อะไร การที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์นั้น เมื่อทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหาโจทย์จนได้ข้อสรปุว่าโจทย์ต้องการอะไรแล้ว ก็ทาการกาหนดแผนในการแก้ไขปัญหาโดยการเขียนผังงาน (Flowchart) การเขียนผังงานคือ การเขียนแผนภาพที่เป็นลาดับ เพื่อแสดงขั้นตอนการทางานของโปรแกรมเพื่อให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ การเขียนผังงานมี 3 แบบคือ แบบเรียงลาดับ(Sequential) แบบมีการกาหนดเงื่อนไข(Condition) และแบบมีการทางานวนรอบ(Looping) สัญลักษณ์ของผังงาน(Flowchart Symbol) มีดังนี้คือ


โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี และตัวอย่าง
โปรแกรมในภาษาซีทุกโปรแกรมจะประกอบด้วยฟังก์ชันอย่างน้อย หนึ่งฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main โดยโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มทางานที่ฟังก์ชัน main ก่อน ในแต่ละฟังก์ชันจะประกอบด้วย

1. Function Heading ประกอบด้วยชื่อฟังก์ชัน และอาจมีรายการของ argument (บางคนเรียก parameter) อยู่ในวงเล็บ
2. Variable Declaration ส่วนประกาศตัวแปร สาหรับภาษาซี ตัวแปรหรือค่าคงที่ทุกตัว ที่ใช้ในโปรแกรมจะต้องมีการประกาศก่อนว่าจะใช้งานอย่างไร จะเก็บค่าในรูปแบบใดเช่น interger หรือ real number
3. Compound Statements ส่วนของประโยคคาสั่งต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นประโยคเชิงซ้อน (compound statement) กับ ประโยคนิพจน์ (expression statment) โดยประโยคเชิงซ้อนจะอยู่ภายในวงเล็บปีกกาคู่หนึ่ง { และ } โดยในหนึ่งประโยคเชิงซ้อน จะมีประโยคนิพจน์ที่แยกจากกันด้วยเครื่องหมาย semicolon (;) หลายๆ ประโยครวมกัน และ อาจมีวงเล็บปีกกาใส่ประโยคเชิงซ้อนย่อยเข้าไปอีกได้

ตัวอย่างโปรแกรมง่ายๆ ในภาษาซี









noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
Tags:
Tags:  

หน้า: 1

 
ตอบ
ชื่อ:
 
แชร์ไป Facebook ด้วย
กระทู้:
ไอค่อนข้อความ:
ตัวหนาตัวเอียงตัวขีดเส้นใต้จัดย่อหน้าชิดซ้ายจัดย่อหน้ากึ่งกลางจัดย่อหน้าชิดขวา

 
 

[เพิ่มเติม]
แนบไฟล์: (แนบไฟล์เพิ่ม)
ไฟล์ที่อนุญาต: gif, jpg, jpeg
ขนาดไฟล์สูงสุดที่อนุญาต 20000000 KB : 4 ไฟล์ : ต่อความคิดเห็น
ติดตามกระทู้นี้ : ส่งไปที่อีเมลของสมาชิกสนุก
  ส่งไปที่
พิมพ์อักษรตามภาพ:
พิมพ์ตัวอักษรที่แสดงในรูปภาพ
 
:   Go
  • ข้อความของคุณอยู่ในกระทู้นี้
  • กระทู้ที่ถูกใส่กุญแจ
  • กระทู้ปกติ
  • กระทู้ติดหมุด
  • กระทู้น่าสนใจ (มีผู้ตอบมากกว่า 15 ครั้ง)
  • โพลล์
  • กระทู้น่าสนใจมาก (มีผู้ตอบมากกว่า 25 ครั้ง)
         
หากท่านพบเห็นการกระทำ หรือพฤติกรรมใด ๆ ที่ไม่เหมาะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียแก่สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมถึง การใช้ข้อความที่ไม่สุภาพ พฤติกรรมการหลอกลวง การเผยแพร่ภาพลามก อนาจาร หรือการกระทำใด ๆ ที่อาจก่อให้ผู้อื่น ได้รับความเสียหาย กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม